My experiences

วันพุธที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

Eurozone states want Greece out, says Venizelos

Eurozone states want Greece out, says Venizelos
15 February 2012 Last updated at 14:55 GMT



Some eurozone countries no longer want Greece in the bloc, Finance Minister Evangelos Venizelos has said.
He accused the states of "playing with fire", as Greece scrambled to finalise an austerity plan demanded by the EU and IMF in return for a huge bailout.
Mr Venizelos promised to clarify the plan before a conference call with eurozone bosses due at 16:00 GMT.
Greece needs to convince lenders that it will make enough savings, and that its politicians will enact the changes.
Athens is hoping to get a 130bn-euro (£110bn; $170bn) bailout from the EU and IMF.
The deal also includes a provision to write off a further 100bn euros of debt owed to banks.
Parliament approved a package of austerity measures on Sunday, but eurozone ministers indicated that more detail needed to be given on the cuts.
The ministers also insisted that the major Greek political parties committed to implementing the cuts, regardless of who wins a general election scheduled for April.
Leaders of the two main parties have now signed letters committing them to enacting the changes.
The leader of the conservative New Democracy party, Antonis Samaras, wrote that if his party won in April it would "remain committed to the programme's objectives, targets and key policies".
But he said that "policy modifications might be required to guarantee the full programme's implementation".
An official told the BBC that 325m euros of extra savings had been made with cuts from defence, health and local government budgets.
Mr Venizelos said there were "very few remaining issues" with the austerity package and promised to have them "fully clarified" before the conference call.
But he also warned that some eurozone countries were "playing with fire", saying: "There are many in the eurozone who don't want us any more."
Mr Venizelos also said that President Karolos Papoulias had volunteered to give up his salary as an "honourable... symbolic gesture". He is reported to earn 280,000 euros a year.
'False rumours'
Without the bailout, Greece will be unable to pay its debts and will be forced into a default.
Its next payment is due on 20 March, and the complex technicalities of finalising the bailout take several weeks even after the politicians have agreed the measures.
But the austerity plan has been hugely unpopular in Greece.
Anger boiled over during Sunday's vote in parliament, when large groups of protesters clashed with riot police and dozens of buildings were set on fire in Athens.
And eurozone countries appear to be running out of patience with Greece.
On Wednesday German Finance Minister Wolfgang Schaeuble told local radio he wanted to help Greece, but "we are not going to pour money into a bottomless pit", in comments translated by the AFP news agency.
And unnamed eurozone officials were quoted suggesting that Greece's latest assurances still may not be enough, because people no longer trusted the country's politicians.
Greece has failed to deliver on many of the promises it made to secure an earlier bailout deal, EU officials say.
In a press briefing on Wednesday, German Chancellor Angela Merkel's spokesman, Steffen Seibert, denied Germany wanted Greece out of the eurozone.
"I can clearly state for the federal government that these rumours are false," he said.
Amadeu Altafaj, a spokesman for EU economics commissioner Olli Rehn, said eurozone members had "stated very clearly that they want Greece to remain a member of the eurozone".
However, the BBC's Matthew Price in Brussels says there is a growing sense among eurozone members that if Greece did leave it would not mean the collapse of the euro.
And in an interview in Manager Magazin to be published on Friday, the head of Germany's engineering and electronics giant Bosch calls for Greece to be ejected from the EU.
In a transcript acquired by Reuters, CEO Franz Fehrenbach says: "This state with its phantom pensioners and rich people that don't pay taxes, a state without a functioning administration, has no place in the European Union."


Reference : http://www.bbc.co.uk/news/world-europe-17040616
Getting more information here : http://www.bbc.co.uk

The Aging Population: Economic Growth and Global Competitiveness

The Aging Population: Economic Growth and Global Competitiveness
POSTED BY ROBERT D. HORMATS / FEBRUARY 13, 2012
Old and young audience members listen as President Barack Obama speaks at the Town Hall Education Arts and Recreation Campus (THEARC) theater in Washington, June 21, 2010. [AP File Photo]

Robert D. Hormats serves as Under Secretary of State for Economic Growth, Energy, and the Environment.
On Tuesday, February 14, the Council on Foreign Relations is holding a meeting on the "The U.S. Aging Population as an Economic Growth Driver for Global Competitiveness." The event is timely. Standard & Poor's reports that "No other force is likely to shape the future of national economic health, public finances and policy-making as the irreversible rate at which the world"s population is aging."

Hence, it's vital that we create opportunities to enable older persons to contribute to their economies and communities in increasingly effective and productive ways. This will require new policies and innovations that promote healthy aging, including advances in medicine, continued learning, and cultural norms regarding aging. As population aging is elevated to the global agenda, the countries that capitalize on the increasing percentage of older adults, and are able to increasingly facilitate their meaningful contributions, will secure a strategic and competitive advantage in the years to come. 

Consider the demographic facts: In the United States, 77 million Baby Boomers -- born from 1946 through 1964 -- are beginning to transition into retirement. In addition to increasing the strain on government-sponsored programs like Medicare, Medicaid, and Social Security, the retirement of this large group of Americans could also create significant losses in productivity as well as specialized skills upon which many of our companies depend. 

The United States is not alone in the challenge and opportunity of population aging. By 2050, more than two billion people worldwide will be over the age of 60. By then, for the first time in human history, more people will be over the age of 60 than under 15. Life-spans have increased an incredible three decades in the past one hundred years and disability rates have been declining. The science of health promotion and risk factor reduction, coupled with advancements in medicine, have made it possible for a large percentage of the population to live out their lives in functional and productive ways. Longevity and health, however, are only part of the equation. As more people worldwide enter their traditional retirement years, the dependency ratio (i.e., the number of retirees per worker) will skyrocket requiring prudent review of twentieth century retirement models. 

Providing opportunities for continued contribution by an aging population is an economic imperative in a growing number of countries, both developing and developed nations. This is a new challenge for developing country governments, especially in Latin America and Asia, which over the past few decades have experienced a significant drop in fertility and death rates. That's why the Asia-Pacific Economic Cooperation (APEC) has declared economic success to be a function of the health and productivity of APEC's Member Economies' aging populations. This declaration is supported by other global organizations also working to turn aging into an opportunity. Indeed, the European Union has launched 2012 as its year of Active and Healthy Aging. And the World Health Organization (WHO) has begun an Age-Friendly Cities Program and is dedicating 2012 World Health Day to aging populations. 

Equally significant is the global health community's new focus on age-related health challenges, called non communicable diseases (NCDs), such as cardiovascular and respiratory diseases, cancer and diabetes. A WHO Resolution calling on governments to "strengthen NCD policies to promote active aging" will be at the center of this year's World Health Assembly in May. This work is an important sign that aging is now beginning to occupy a critical and rightful place on the international agenda. 

We need a focused, society-wide effort to transform our vision of aging from a time of dependency to a time of continued growth, contribution, and social and economic participation. Older adults have a wealth of experience and much to contribute. We need a sea-change not just in policies, but in attitudes about what it means to grow old. We must break the stereotype that to be old is to be inactive or dependent, and in so doing turn "population aging" into the century's greatest achievement. 

Collaborating with our private sector and global partners is a path to sharing strategies and solutions to the truly global phenomenon of population aging. On the government side, an important step will be to broaden the base of collaboration on aging populations to include not only health, but also economic, finance and trade portfolios. Working together, we can turn the longevity bequeathed us from the twentieth century into a positive driver of growth, contribution and economic activity in the twenty-first.

The State of Transatlantic Relations

The State of Transatlantic Relations
POSTED BY PHILIP H. GORDON / FEBRUARY 14, 2012



Flags of NATO members states seen in front of NATO headquarters, Brussels, June 11, 2009. [AP File]

Philip H. Gordon serves as Assistant Secretary of State for European and Eurasian Affairs.
In early January, I had the opportunity to engage with European policy-makers and analysts in Brussels, Vilnius, and Copenhagen. Given President Obama's announcementof the new defense strategy guidelines on January 5, my visit provided an opportune moment to share U.S. perspectives on the state of the transatlantic alliance as well as policy objectives for the coming year. My central message was clear: three years into the Obama Administration, the strategic alignment between the United States and Europe has never been greater. This theme underpinned Secretary Clinton's speech at the recentMunich Security Conference, as she praised ongoing cooperation across a range of foreign policy issues and called for increased collaboration on emerging challenges.

From the earliest days of his Administration, President Obama has prioritized the re-establishment of strong transatlantic relations. He put this goal into action by developing three objectives that have guided our engagement with Europe: (1) enhance transatlantic partnerships to address global challenges; (2) work together to complete "unfinished business" in Europe, including the extension of stability, prosperity, and democracy to the Balkans, Caucasus, and Europe's east; and (3) set relations with Russia on a more constructive course, cooperating where we have common interests while speaking frankly about areas of difference.

Progress has been made in all three areas, including: joint action through NATO in cooperation with Arab partners to prevent a massacre in Libya; a tough, united diplomatic front against Iran and Syria; significant movement on the accession of Balkan countries to Euro-Atlantic institutions; coordinated responses to the troubling events in Belarus; and agreement with Russia on the New START Treaty, 123 nuclear agreement, and military transit accord on Afghanistan. On every issue of international importance, the United States and Europe are working together to develop effective policy responses. But more work remains to be done.

Now in early 2012, the global financial crisis is foremost in the minds of policymakers on both sides of the Atlantic. We remain confident about Europe's ability to resolve its economic challenges. From a security perspective, we will have to adapt creatively to this new economic reality by finding ways to make our collective defense spending smarter and more efficient. We support NATO Secretary General Rasmussen's emphasis on "smart defense" and hope allies will back initiatives that help ensure security while minimizing costs. Even in this period of budgetary constraint, the United States remains committed to a strong Europe, the collective defense of our NATO allies, and to building and maintaining the capacity that allow us to work together globally.

President Obama is looking forward to hosting his counterparts for the NATO summit this May in Chicago, where many of these issues will be discussed. While allies have not yet finalized the agenda, we can expect significant attention on Afghanistan, capabilities, and partnerships. In particular, the summit will address the next phase of the transition of internal security responsibility to the Afghan National Security Forces (ANSF). 

Over the coming months, I look forward to continuing the dialogue with my European counterparts about the many challenges facing the transatlantic alliance. Whether the issue is the security transition in Afghanistan or the continuing violence in Syria, it is clear that the United States has no better partner than Europe.

Editor's Note: Assistant Secretary Gordon is on travel to Brussels, Belgium and Moscow, Russia February 14-18, 2012.


Reference : http://blogs.state.gov/index.php/site/entry/us_europe_transatlantic_relations

เปิดท่าทีไทยนำชายแดนใต้ผงาด ‘ยิ่งลักษณ์’เจรจา‘นายกมาเลย์’

เปิด 11 ข้อหารือ ‘ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร’ กับ‘นาจิบ ราซัค’ มุ่งแก้ปัญหาชายแดนใต้ ยาเสพติด คน 2 สัญชาติ แรงงานร้านต้มยำ สร้างสะพานตากใบ ตั้งเขตอุตสาหกรรมยางพาราฝั่งมาเลย์ อุตสาหกรรมปาล์มฝั่งไทย
ใบกระท่อม - ขึ้นชั้นระหว่างประเทศ – พืชกระท่อมจะเป็นประเด็นหนึ่งที่นายกรัฐมนตรีจะหารือกับนายกรัฐมนตรีมาเลเซียในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2555 เนื่องจากเป็นยาเสพติดที่กำลังระบาดหนักในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ แต่ในมาเลเซียเป็นพืชที่ไม่ผิดกฎหมาย จึงมีพ่อค้าเข้าไปเก็บมาขายในประเทศไทยจำนวนมาก


การหารือข้อราชการระหว่างนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทย กับนายราจิบ นาซัค นายกรัฐมนตรีประเทศมาเลเซียในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2555 อาจมีนัยยะสำคัญต่อการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมถึงอนาคตในการพัฒนาเศรษฐกิจภาคใต้โดยรวม
ต่อไปนี้เป็น 11 กรอบประเด็นในหารือข้อราชการดังกล่าว ที่ได้จากประชุมหารือแนวทางแก้ปัญหาชายแดนไทย – มาเลเซีย เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2555 ที่ห้องสุริยาศศิน โรงแรมลีการ์เดนส์พลาซ่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ที่มีนายยงยุทธ วิชัยดิษฐ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นประธาน ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) เป็นเจ้าภาพ
.......
ประเด็นหารือสำหรับการหารือข้อราชการระหว่างนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายรัฐมนตรีไทย กับนายราจิบ นาซัค นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2555 มีประเด็นที่ฝ่ายไทยควรยกขึ้นหารือ รวม 11 ประเด็น ประกอบด้วย
1.ความร่วมมือด้านความมั่นคงสภาพปัญหาการแก้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากมาเลเซีย ในฐานะประเทศที่มีพรมแดนติดกัน จากปัญหาบุคคล 2 สัญชาติ การลักลอบขนสินค้าหนีภาษี การขนน้ำมันเถื่อน ปัญหายาเสพติดที่ระบาดในจังหวัดชายแดนภาคใต้ อาทิ กระท่อมเป็นพืชที่ไม่ถือว่าผิดกฎหมายในมาเลเซีย เป็นต้น
ตารางแสดงการเพิ่มขึ้นของคดียาเสพติดใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้  
จังหวัด
จำนวนคดียาเสพติด
ปี 2549
ปี 2553
ยะลา
739
1,553
ปัตตานี
699
1,595
นราธิวาส
1,152
1,595
สงขลา
1,909
2,515
ขอบคุณที่รัฐบาลมาเลเซียให้ความร่วมกับไทยในการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้มาด้วยดีโดยตลอด
อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ขอให้นายกรัฐมนตรีมาเลเซียสั่งการไปยังเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติของมาเลเซียในการเพิ่มความเข้มงวดในการตรวจจับและติดตาม ความร่วมมือด้านการข่าว เป็นต้น ซึ่งเชื่อว่าจะเป็นการสกัดปัญหา แยกกลุ่มผู้กระทำความผิด ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้อย่างมาก
ท่าทีไทยฝ่ายไทยมองว่า ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นวาระแห่งชาติที่จะต้องได้รับการแก้ไขในการนำสันติสุขกลับสู่พื้นที่โดยเร็ว และถือเป็นปัญหาความมั่นคงร่วมกันระหว่างไทย-มาเลเซีย ทั้งนี้เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ลามไปสู่มาเลเซียด้วย
2.ความร่วมมือด้านการบรรเทาภัยพิบัติท่าทีไทยขอบคุณรัฐบาลและประชาชนชาวมาเลเซียที่ได้ร่วมบริจาคเงินและสิ่งของช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย โดยผ่านการประสานงานของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภาค 4 ส่วนหน้า (กอ.รมน.ภาค 4 สน.)
3.การก่อสร้างสะพานตากใบ และสะพานข้ามแม่น้ำโกลกแห่งที่ 2ข้อเท็จจริงสะพานตากใบ ระยะทาง 10.6 กิโลเมตร ค่าใช้จ่าย 5,664 ล้านบาท มีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้สูงกว่าสะพานข้ามแม่น้ำโก – ลกแห่งที่ 2 คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปี 2559
ฝ่ายมาเลเซีย ประสงค์จะให้สร้างสะพานตากใบ ซึ่งจะมีผลทางเศรษฐกิจสูงกว่าและสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจฝั่งตะวันออก (ECER) ของมาเลเซีย ซึ่งมีสภาพเศรษฐกิจล้าหลังกว่าภาคเหนือของมาเลเซีย
สะพานข้ามแม่น้ำโก – ลกแห่งที่ 2 ผ่านการศึกษา FS แล้ว ระยะทาง 310 เมตร ค่าใช้จ่าย 300 ล้านบาท โดยแต่ละฝ่ายรับผิดชอบค่าใช้จ่ายคนละครึ่ง
สำนักงานจังหวัดนราธิวาส สนับสนุนให้สร้างสะพานข้ามแม่น้ำโกลกแห่งที่ 2 เพื่อลดความแออัดของสะพานข้ามแม่น้ำโก – ลกแห่งแรก
ท่าทีไทยเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนระหว่างจังหวัดนราธิวาสและรัฐกลันตันของมาเลเซีย จึงควรสนับสนุนการก่อสร้างสะพานทั้ง 2 แห่ง โดยอาจให้มีการดำเนินการไปในลักษณะคู่ขนาน
4.การแก้ปัญหาแรงงานไทยที่ทำงานร้านต้มยำกุ้งในมาเลเซียสภาพปัญหามีชาวไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้เดินทางไปทำงานที่ร้านต้มยำในมาเลเซียอย่างผิดกฎหมาย 195,000 คน ซึ่งเสี่ยงต่อการถูกจับกุมและส่งตัวกลับ
สาเหตุที่แรงงานไทยไม่ขอใบอนุญาตทำงานเนื่องจากต้องเสียค่าธรรมเนียม (Levy) คนละ 18,000 บาท ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) เคยเจรจาอย่างไม่เป็นทางการเพื่อขอให้ฝ่ายมาเลเซียลดค่าธรรมเนียม (Levy)
ขอให้รัฐบาลมาเลเซียเปิดโอกาสให้แรงงานไทยใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เข้าไปทำงานในตำแหน่งพนักงานเสิร์ฟ เฉพาะในร้านอาหารไทยและร้านต้มยำได้ โดยขอให้ลดอัตราค่าธรรมเนียม (Levy) ในอัตราที่เหมาะสม ซึ่งฝ่ายไทยจะมีการเตรียมความพร้อมให้แรงงานไทย ก่อนส่งออกไปทำงานอย่างเป็นระบบ โดยจะมีศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นหน่วยงานบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
ท่าทีไทยยินดีที่จะจัดส่งแรงงานฝีมือ (Skilled Labour) เพื่อสนับสนุนการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ตามแผนปฏิรูปเศรษฐกิจ Economic Transformation Program (ETP) ของมาเลเซีย ซึ่งต้องการแรงงาน 3.3 ล้านคน โดยแรงงานฝีมือไทยเป็นที่ยอมรับว่า เป็นแรงงานที่มีคุณภาพในตลาดแรงงานระหว่างประเทศ
5.การแก้ปัญหารถตู้ไทยขนส่งผู้โดยสารไปมาเลเซียสภาพปัญหาเป็นปัญหาที่สร้างความเดือดร้อนแก่ผู้ประกอบการรถตู้ไทย โดยฝ่ายมาเลเซียมองว่า รถตู้ไทยมีการขนส่งแรงงานเถื่อนไปทำงานที่ร้านต้มยำ จึงได้จับกุมและปรับ ตั้งแต่ต้นปี 2553 และได้ออกกฏระเบียบที่รถตู้ไทยไม่สามารถปฏิบัติได้ ได้ส่งผลกระทบต่อธุรกิจท่องเที่ยว 2 ประเทศ
ข้อเท็จจริงล่าสุด Economic Planning Unit (EPU) ซึ่งเป็นฝ่ายเลขานุการของกรอบความร่วมมือ JDS (คณะกรรมการร่วมจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ชายแดนไทย – มาเลเซีย : Thai – Malaysia Committee on Joint Development Strategies for Border Area – JDS) ฝ่ายมาเลเซียขอให้สำนักนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ฝ่ายเลขานุการของ JDS ฝ่ายไทยจัดประชุมผู้เกี่ยวข้องในวันที่ 16 มกราคม 2555 เพื่อรวบรวมข้อเสนอของฝ่ายไทยที่สามารถปฏิบัติได้ ส่งให้มาเลเซียพิจารณา ซึ่งถือว่าเป็นการส่งสัญญาณที่ดีของการเจรจาในการแก้ปัญหาดังกล่าว อย่างไรก็ตามการเจรจาดังกล่าว ยังเป็นเพียงยกแรกเท่านั้น
ท่าทีไทยขอให้นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ให้การสนับสนุนการเป็นเจ้าภาพในการแก้ปัญหารถตู้ไทยของ EPU ด้วย
6 การขอต่ออายุและขยายระดับของทุนการศึกษารัฐบาลมาเลเซียข้อเท็จจริงรัฐบาลมาเลเซียได้ให้ทุกแก่นักเรียนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษา หลักสูตร 5 ปี ปีละ 60 คน เป็นเวลา 6 ปี ตามความตกลงร่วมมือด้านการศึกษาระหว่างไทย – มาเลเซีย ซึ่งได้ดำเนินมาแล้ว 3 ปี ปัจจุบันมีนักเรียนทุน 134 คน
มาเลเซียเสนอจะให้การสนับสนุนไทยในเรื่องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ใน 3 ด้าน เรียกว่า “3E” ได้แก่ Education (การศึกษา) Employment (การจ้างงาน) และ Entrepreneurship (ทักษะการประกอบอาชีพ)
ร่วมการแสดงความยินดีในโอกาสการที่ ดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัด อดีตนายกรัฐมนตรีมาเลเซียได้เดินทางมารับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ที่มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา (มอย.) เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2554
ท่าทีไทยขอบคุณรัฐบาลมาเลเซียที่ให้ทุนการศึกษา แก่เยาวชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ไปศึกษาในระดับมัธยมปลาย ซึ่งกระทรวงศึกษามาเลเซียให้การดูแลอย่างดี จึงขอขยายจำนวนและปีของทุนการศึกษาดังกล่าวให้ครอบคลุมถึงระดับอุดมศึกษาในสาขาต่างๆ ซึ่งเป็นการสงเสริมการศึกษาเรียนรู้ของเยาวชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเป็นการเตรียมความพร้อมสำหรับการเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558
7 การเปิดการค้าเสรีต้นกล้ายาง/เมล็ดพันธ์ปาล์มน้ำมัน และตั้ง Oil Palm Belt ข้อเท็จจริงในการประชุม JDS มาเลเซียได้เสนอขอตั้ง “เขตอุตสาหกรรมยางพารา” Rubber Belt ตามแนวชายแดน เพื่อนำวัตถุดิบไปใช้ในอุตสาหกรรมแปรรูป ขอให้พิจารณาข้อเท็จจริงที่ว่า ไทยเป็นประเทศส่งออกยางพารารายใหญ่ที่สุดในโลก ส่วนมาเลเซียเป็นประเทศส่งออกน้ำมันปาล์มรายใหญ่ที่สุดของโลก จึงควรหาทางร่วมมือ โดยอาจเริ่มจากให้มีการค้าเสรีต้นกล้ายางและเมล็ดพันธ์ปาล์มน้ำมัน
ท่าทีไทยเสนอให้มีการเปิดการค้าเสรีต้นกล้ายาง/เมล็ดพันธ์ปาล์มน้ำมัน เพื่อพัฒนาพื้นที่เพาะปลูกปาล์มน้ำมัน เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปน้ำมันปาล์ม การผลิตน้ำมันพืช รวมทั้งไบโอดีเซล เป็นต้น
เสนอให้ตั้ง Oil Palm Belt ในฝั่งไทย เพื่อรับซื้อปาล์มน้ำมันดิบมาแปรรูป โดยฝ่ายไทยอาจชักชวนให้บริษัทแปรรูปปาล์มน้ำมันจากภาคใต้ตอนบน อาทิจากจังหวัดชุมพร จังหวัดสุราษฎร์ธานี มาลงทุน ทั้งนี้เพื่อเป็นข้อเสนอที่จะแลกเปลี่ยนกับ Rubber Belt ของมาเลเซีย
8 การขยายด่านสะเดา – ด่านบูกิตกายูฮิตัมสภาพปัญหาสถิติการค้าผ่านด่านสะเดาปี 2554 มีมูลค่า 3 แสนล้านบาท มีรถยนต์ผ่านแดนปีละ 8 แสนคัน และการเข้า – ออกของนักท่องเที่ยวปีละ 4.4 ล้านคน กรมศุลกากรจะต้องลงทุนก่อสร้างด่านสะเดาแห่งใหม่ เพื่อรับรองประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งด่านสะเดามีมูลค่าส่งออก – น้ำเข้ามากที่สุดเมื่อเทียบกับด่านอื่นๆ ทั่วประเทศ
ข้อเท็จจริงที่ประชุม JDS เห็นชอบโครงการขยายด่านสะเดา – ด่านบูกิตกายูฮิตัม
กรมศุลกากรมีโครงการก่อสร้างด่านสะเดาแห่งใหม่บนเนื้อที่ 720 ไร่ ในตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ใช้งบ 123 ล้านบาท อยู่ระหว่างการสำรวจและออกแบบ
ที่ประชุม IMT – GT (แผนงานพัฒนาเขตเศรษฐกิจอินโดนีเซีย – มาเลเซีย – ไทย : Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle : IMT – GT) สนับสนุนโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง หรือ มอเตอร์เวย์ สายสะเดา – หาดใหญ่ ระยะทาง 65 กิโลเมตร งบประมาณ 3 พันล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณหนึ่งหมื่นล้านบาท) โดยธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) จะสนับสนุนเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ
ท่าทีไทยขอให้นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย สนับสนุนโครงการพัฒนาด่านบูกิตกายูฮิตัมในฝั่งมาเลเซีย ซึ่งนอกจากจะเป็นการช่วยอำนวยสะดวกการขนส่งสินค้าแล้ว ยังช่วยส่งเสริมการท่องเที่ยวระหว่าง 2 ประเทศด้วย เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง (Connectivity) ในการรองรับประชาคมอาเซียนในปี 2558 ด้วย
9 การส่งเสริมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลข้อเท็จจริงไทยมีศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ได้รับการยอมรับในด้าน องค์ความรู้ในการตรวจสอบมาตรฐานอาหารและสินค้าฮาลาลในระดับโลก ขณะที่ประเทศมาเลเซียมีตลาดโลกมุสลิม สำหรับส่งออกสินค้าฮาลาล
นอกจากนี้ ไทยมีความได้เปรียบในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร จะเห็นได้ว่า ไทยส่งออกปลาประป๋องทูน่าเป็นอันดับ 1 ของโลก
ขณะนี้ มีบริษัท ลังกาสุกะ กรุ๊ป ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมฮาลาลจากมาเลเซีย สนใจที่จะมาลงทุนตั้งโรงงานผลิตอาหารฮาลาลในจังหวัดปัตตานี (ไทยต้องการพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมฮาลาล )
ทั้งนี้ บริษัทสหฟาร์ม เป็นที่ปรึกษาให้แก่บริษัทของมาเลเซียในทำโครงการสร้างฟาร์ม/โรงชำแหละไก่เพื่อส่งออกไปยังมาเลเซียด้วย
ท่าทีไทยไทยมีความพร้อมในอุตสาหกรรมฮาลาล ทั้งด้านวัตถุดิบทางการเกษตร อุตสาหกรรมแปรรูปสัตว์น้ำ จึงขอเชิญชวนให้ผู้ประกอบการฮาลาลจากมาเลเซีย มาลงทุนในนิคมอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล จังหวัดปัตตานี
ไทยและมาเลเซียสามารถร่วมมือในการร่วมมือลงทุนผลิตและขยายการส่งออกสินค้าฮาลาล ไปยังตลาดมุสลิม ซึ่งมีขนาดประชากรถึง 1.8 พันล้านคน หรือมีผู้นับถือศาสนาอิสลาม 1 ใน 3 ของประชากรโลก
10.ความร่วมมือด้านเกษตรอินทรีย์ (Organic Farming) ข้อเท็จจริงในมาเลเซีย มีองค์กร Bernas เป็นองค์กรเดียวที่สามารถนำเข้าข้าวทางน้ำทางเดียวและจำหน่ายข้าวในมาเลเซีย และเห็นว่า ปัจจุบันตลาดข้าวอินทรีย์ (Organic Rice) มีความต้องการมากขึ้น รวมทั้งในอนาคต จึงประสงค์จะร่วมมือกับไทยในการใช้องค์ความรู้ (Know How) และเทคโนโลยีจากไทย
รัฐกลันตันเปิดโอกาสให้ผู้สนใจมาลงทุนในพื้นที่ ซึ่งรัฐจะหาที่ตั้งโรงงานในพื้นที่ 3 – 4 พันเอเคอร์ (ประมาณ 1 หมื่นไร่) ให้ เพื่อเพาะปลูกและผลิตข้าวอินทรีย์ร่วมกันสำหรับจำหน่ายในมาเลเซีย หากมีปริมาณมากพอจะร่วมกันส่งออกไปตลาดจีน ซึ่งรัฐกลันตันได้รับใบรับรองคุณภาพข้าวอินทรีย์อยู่แล้ว
ท่าทีไทยไทยยินดีที่จะให้ความร่วมมือ โดยเฉพาะการปลูกและผลิตข้าวอินทรีย์ในรูปแบบการร่วมทุนของเอกชน
11.ร่วมมือกับมาเลเซียในการส่งออกทุเรียนไปตลาดจีนข้อเท็จจริงมาเลเซียได้ทำบันทึกความเข้าใจ (MOU) ในการส่งทุเรียนไปยังตลาดจีน ระหว่างการเยือนมาเลเซียของนายกรัฐมนตรีประเทศจีน เมื่อเดือนเมษายน 2554 ซึ่งจีนมีความต้องการนำเข้าทุเรียนในปริมาณที่สูงมาก
ท่าทีไทยยินดีที่จะร่วมมือกับมาเลเซียในการจัดส่งทุเรียนไปตลาดจีน ซึ่งไทยมีความได้เปรียบกว่ามาเลเซีย ทั้งนี้ ไทยเป็นประเทศส่งออกทุเรียนมากที่สุด โดยครองตลาดส่งออก 1.5 แสนตัน/ปี ทุเรียนไทยสามารถเก็บได้ก่อนและสามารถส่งออกเป็นทุเรียนสดได้ ขณะที่มาเลเซียส่งออกทุเรียนแปรรูปเท่านั้น
ทั้งนี้จังหวัดยะลามีศักยภาพด้านผลไม้ มีผลผลิตทุเรียน 4.8 หมื่นตัน/ปี ซึ่งสะดวกในการขนส่งไปยังท่าเรือปีนัง ของมาเลเซีย


อ่านข่าวที่เกี่ยวข้องชง 11 เรื่องเจรจา ‘นายกฯมาเลย์’ ‘ใบกระท่อม’ ขึ้นชั้นปัญหาระหว่างประเทศ  http://prachatai.com/journal/2012/02/39224